ค้นหาบทความ
ราคาน้ำมันวันนี้
จำนวนนับผู้เข้าเยี่ยมชม
mod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_counter
mod_vvisit_counterวันนี้316
mod_vvisit_counterเมื่อวานนี้521
mod_vvisit_counterสัปดาห์นี้316
mod_vvisit_counterสัปดาห์ที่แล้ว3753
mod_vvisit_counterเดือนนี้13837
mod_vvisit_counterเดือนที่แล้ว15525
mod_vvisit_counterรวมผู้เข้าชม2262068

ออนไลน์ (20 นาทีที่แล้ว): 14
หมายเลข IP : 18.218.168.16
MOZILLA 5.0,
วันที่ : 28 •เม.ย.•, 2024
ล้านนาแพร่ประชาสัมพันธ์
Vinaora Nivo SliderVinaora Nivo SliderVinaora Nivo SliderVinaora Nivo Slider
จังหวัดแพร่


ประวัติการสร้างเมืองแป้(โกศัยนคร) •PDF• •พิมพ์• •อีเมล•
•เขียนโดย Administrator•   
•วัน•พุธ•ที่ 31 •ธันวาคม• 2014 เวลา 00:00 น.•

•แก้ไขล่าสุด ใน •วัน•พฤหัสบดี•ที่ 04 •เมษายน• 2013 เวลา 07:52 น.••
•อ่านเพิ่มเติม...•
 
เจ้าผู้ครองนครแพร่ยุคประเทศราชของสยาม •PDF• •พิมพ์• •อีเมล•
•เขียนโดย Administrator•   
•วัน•จันทร์•ที่ 28 •มกราคม• 2013 เวลา 12:55 น.•

เจ้าผู้ครองนครใน “ล้านนาประเทศ” ช่วงเป็นประเทศราชของ “สยามประเทศ” หรือที่นิยมเรียกทั่วไปว่า “เจ้าหลวง” ในมุมมองของสยามผู้เป็นเจ้าอธิราชถือว่าเป็น “เจ้าเมือง(เจ้าประเทศราช)” ส่วนมุมมองของล้านนารวมถึงในเมืองนครแพร่ถือว่าเป็น “กษัตริย์” ดังปรากฏพระนามแทนเจ้าหลวงนครแพร่แต่ละองค์ว่า “พระกระสัตราธิราช” หรือ “พระองค์สมเด็จพระบรมบัวพิตองค์เปนเจ้า”(เจ้าหลวงอินทวิไชยราชา) หรือ “องค์สมเด็จมหาราชหลวง” หรือ “สมเด็จพิมพิสารมหาราช”(เจ้าหลวงพิมพิสารราชา) แต่ทว่าเท่าที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันเจ้าหลวงนครแพร่ยังมีความคลาดเคลื่อน ทั้งที่มาของต้นปฐมราชวงศ์ จำนวนองค์เจ้าหลวงที่ขึ้นครองนคร ลำดับการครองนคร ระยะเวลาที่ขึ้นครองนคร ตลอดจนถึงความสัมพันธ์ทางเครือญาติกับเจ้าหลวงองค์ก่อนหน้า เนื่องจากข้อจำกัดด้านหลักฐานและในเมืองแพร่เพิ่งเริ่มค้นคว้าถึงเจ้าหลวงองค์ก่อนเจ้าหลวงพิริยเทพวงศ์ เจ้าหลวงนครแพร่องค์สุดท้ายช่วงทศวรรษ ๒๕๒๐ เป็นต้นมา

•แก้ไขล่าสุด ใน •วัน•ศุกร์•ที่ 01 •กุมภาพันธ์• 2013 เวลา 13:11 น.••
•อ่านเพิ่มเติม...•
 
วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร •PDF• •พิมพ์• •อีเมล•
•เขียนโดย Administrator•   
•วัน•เสาร์•ที่ 12 •มกราคม• 2013 เวลา 22:55 น.•

วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร ตั้งอยู่เลขที่ ๑๖ ถนนเจริญเมือง ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของศาลากลางจังหวัด เป็นวันที่เกิดจากการรวม ๒ วัดคือ วัดพระบาทและวัดมิ่งเมือง เป็นวัดพระบาทมิ่งเมือง ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ยกฐานะจากวัดราษฎ์ ให้เป็นพระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดวรวิหาร วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร มีพื้นที่ ๖ ไร่ ๓๒ ตรารางวา (โฉนดที่ดินเลขที่ ๒๑๑๕) มีอาณาเขตทิศเหนือติดถนนเจริญเมือง ความยาว ๑๔๘ เมตร อยู่ตรงข้ามสำนักงานที่ดินจังหวัดแพร่ ที่ทำการไปรษณีย์จังหวัดแพร่ และสำนักงานพาณิชย์จังกวัดแพร่ ทิศใต้ติดกับถนนพระบาทมิ่งเมือง ความยาว ๑๕๖ เมตร อยู่ตรงข้ามกับโรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร่ ทิศตะวันออก ติดถนนพระร่วงความยาว ๕๒ เมตร อยู่ตรงข้ามกับร้านคาพาณิชย์ ทิศตะวันตก ติดถนนคุ้มเดิม ความยาว ๗๖ เมตร อยู่ตรงข้ามสวนสุขภาพเฉลิมพระเกียรติ ร.๙

•แก้ไขล่าสุด ใน •วัน•เสาร์•ที่ 23 •กุมภาพันธ์• 2013 เวลา 08:41 น.••
•อ่านเพิ่มเติม...•
 
การเสด็จพระราชดำเนินจังหวัดแพร่ •PDF• •พิมพ์• •อีเมล•
•เขียนโดย Administrator•   
•วัน•อังคาร•ที่ 04 •ธันวาคม• 2012 เวลา 21:35 น.•

การเสด็จพระราชดำเนินของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในพื้นที่จังหวัดแพร่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินทรงเยี่ยมราษฎร รวม ๘ ครั้ง ๑. วันที่ ๑๕ - ๑๗ มีนาคม พ.ศ.๒๕๐๑ ๒. วันที่ ๘ กันยายน พ.ศ.๒๕๑๔ ๓. วันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๑๖ ๔. วันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๑ ๕. วันที่ ๓๐ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๒ ๖. วันที่ ๑๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๓ ๗. วันที่ ๑๐ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๔ ๘. วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๕

•แก้ไขล่าสุด ใน •วัน•พุธ•ที่ 05 •ธันวาคม• 2012 เวลา 22:42 น.••
•อ่านเพิ่มเติม...•
 
เมืองแพร่มหันตภัยธรรมชาติ •PDF• •พิมพ์• •อีเมล•
•เขียนโดย Administrator•   
•วัน•พุธ•ที่ 18 •กรกฏาคม• 2012 เวลา 13:03 น.•

มหันตภัยธรรมชาติ ภัยธรรมชาติที่ชาวแพร่หวาดสะดุ้งทุกฤดูลงนาเกณฑ์ชะตาน้ำมาก แม้นน้ำเหนือไหลหลากถึงท่วมท้นล้นฝั่งก็มักจะพาให้เมืองจม น้ำท่วมครั้งใหญ่เคยประสบมา ๔ ครั้ง ในปี ๒๔๗๒, ๒๔๗๖, ๒๔๘๒ และ ๒๕๓๘ แต่ละครั้งแต่ละคราวร้ายกาจทารุนเหลือที่จะพรรณนา สายน้ำไหลบ่าด้วยกำลังแรงเชี่ยว ราวกับว่าเกิดแต่อำนาจเจ้าป่าผีปันน้ำ พัดพาห้างร้านโรงเรือนถึงพังทะลายให้ผู้คนและสัตว์ถึงกับตายลอยเป็นแพ โดยเฉพาะที่ตั้งบริเวณตัวเมืองเป็นที่ลุ่มล้อมด้วยกำแพง ดินมีลักษณะเป็นแอ่งคล้ายก้นกระทะ ขังน้ำไว้กว่าจะแห้งก็นานวัน ระดับน้ำท่วมสูงสุดเมื่อปี ๒๔๘๒ วัดได้ถึง ๓.๗๕ เมตร

•แก้ไขล่าสุด ใน •วัน•อาทิตย์•ที่ 22 •กรกฏาคม• 2012 เวลา 21:06 น.••
•อ่านเพิ่มเติม...•
 
<< •เริ่มแรก• < •ย้อนกลับ• 1 2 3 4 5 6 7 •ถัดไป• > •สุดท้าย• >>

•หน้า 1 จาก 7•